ช่วงนี้นาย X รู้สึกกระสับกระส่าย ปัญหานี้เกิดจากอะไร? ในความเป็นจริงแล้วเขาเป็นมะเร็งปอดระยะที่ 1 แม้ ในทุกวันนี้การเป็นโรคมะเร็งไม่ใช่เรื่องน่ากลัวอีกต่อไป เพราะว่าโรคมะเร็งเป็นโรคเรื้อรังที่สามารถป้องกันและรักษาได้ แค่เข้ารักษาที่โรงพยาบาลก็ทำการรักษาได้ใช่หรือไม่?
อย่างไรก็ตาม ดูเหมือนว่าพระเจ้าต้องการจะทดสอบอะไรบางอย่างกับเขา อาการไอ แน่นหน้าอก ไอเลือดเป็นครั้งความ (ศัพท์ทางการแพทย์คืออาเจียนเป็นเลือด) เลือดที่อกมาพร้อมกับอาการไอนั้น สามารถเริ่มพบได้ตั้งแต่ปะปนออกมากับน้ำลายเพียงเล็กน้อย มีการเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยจำนวนเลือดที่ออกมาในแต่ละครั้งมีจำนวนเพิ่มขึ้น จนมีการออกเป็นเลือดทั้งหมด ในเวลานี้ นาย X ไม่สามารถนิ่งนอนใจได้อีกต่อไป เพราะฉะนั้นเขาจำต้องเลือกโรงพยาบาลดีๆ เพื่อรับมือกับเรื่องนี้!
ยาห้ามเลือดแทบจะไม่ได้ผลอะไรเลย เป็นงานที่ยากต่อการรักษา
ด้วยการแนะนำของคนรู้จัก คุณ Xได้เดินทางมาที่โรงพยาบาลมะเร็งรอยัลลีกวางโจวพร้อมมกับครอบครัว ทีมแพทย์ของโรงพยาบาลมีความสามารถสูง การกรอกเอกสารก็ไม่วุ่นวาย นาย X ดูสบายใจขึ้นมาก ศาสตราจารย์หม่า หลาน อิง ผู้อำนวยการแผนกอายุรศาสตร์มะเร็งวิทยาประจำโรงพยาบาลได้กำหนดแผนการรักษาให้กับผู้ป่วย ทำให้กอาการต่างๆ ของผู้ป่วยดีขึ้นตามลำดับ
อย่างไรก็ตาม อาการไอเป็นเลือดก็ทำให้นาย X ได้สร้างความหวาดหวั่นให้แกศาสตราจารย์หม่า หลาน อิง เป็นอย่างมาก ยาห้ามเลือดอย่างเดียวจะไม่เพียงพอ และแนวทางการรักษาก็มีวิธีการเดียว แล้วจะทำอย่างไรล่ะ?
ผ่าตัดดีไหม? ตอนนี้อุปกรณ์ของเรายังไม่พร้อม ทุกอย่างจะต้องปรึกษาแพทย์และผู้เชี่ยวชาญเพื่อให้เนื้อเยื่อมะเร็งกระจายน้อยที่สุด ควรจะทำอย่างไรต่อไป?
เส้นเลือดมีความคดเคี้ยวยากต่อการเข้าถึง จะหลีกเลี่ยงความเสี่ยงนี้ได้อย่างไร?
ศาสตราจารย์หวาง ฟาง จุน นายแพทย์ระดับผู้เชี่ยวชาญได้รับการเชิญให้เข้าร่วมในการกำหนดแผนการรักษาในครั้งนี้ด้วย หลังจากได้รับผลการอ่านฟิล์มจากแพทย์รังสีวิทยาแล้ว ทุกท่านต่างลงความเห็นเป็นเสียงเดียวตามการตัดสินใจของนายแพทย์หวาง ฟาง จุน ว่าควรจะนำเดินการรักษาด้วยวิธีรังสีร่วมรักษา
ศาสตราจารย์หวางเป็นผู้นำการผ่าตัดในครั้งโดยมีนายแพทย์เริ่ม ทั่ว นายแพทย์ เหอ เซียน จื่อ เป็นผู้ช่วยในการผ่าตัด รักษาด้วยวิธีรังสีร่วมรักษา การผ่าตัดให้การนำทางจากเครื่องเอกซเรย์หลอดเลือด DSA เป้ฯผลให้การผ่าตัดเป็นไปได้อย่างราบรื่น และเสร็จสิ้นในเวลาดันรวดเร็ว
ทว่าเส้นเลือดนั้นมีความคดเคี้ยว โดยเฉพาะตรงปลายเปิดซึ่งเป็นมันมุมหลบทำให้ยากต่อการเข้าถึง เป็นอุปสรรคหลักต่อการผ่าตัด เพราะว่าไม่สามารถใส่ท่อเข้าไปได้ ต้องมีเทคนิคทางการผ่าตัดที่ดี จึงจะสามารถทำการผ่าตัดเพื่ออุดเส้นเลือดมีมีเลือดออกได้ และต้องหลีกเลี่ยงอันตรายที่อาจเกิดกับไขสันหลังและหลอดเลือดในจุดสำคัญอื่นๆ นี่เป็นปัญหาที่ศาสตราจารย์หวางพบขณะทำการผ่าตัดให้แก่คนไข้ท่านนี้
พูดให้เข้าใจได้ง่ายขึ้นนั่นก็คือ การผ่าตัดด้วยวิธีนี้จำเป็นต้อง หลีกเลี่ยงหลอดเลือดและเนื้อเยื่อปกติ การผ่าตัดจะทำโดยตรงเข้าไปบริเวณเส้นเลือดที่มีปัญหา เมื่อค้นหาเส้นเลือดนั้นๆเจอแล้วจึงทำการอุดเส้นเลือดที่มีอากรเลือดออกผิดปกติ แต่เนื่องจากโครงสร้างของปอดนั้นบอบบางมาก การดำเนินการจึงต้องระมัดระวังและรอบคอบ เพราะความเสียหายที่เกิดขึ้นจะส่งผลต่อเนื้อเยื่อที่ดีโดยรอบได้ง่าย ดังนั้นการผ่าตัดด้วยเทคนิคนี้จึงต้องอาศัยทีมแพทย์ทีมีประสบการณ์และทักษะทางการรักษาค่อนข้างสูง
ได้ผลลัพธ์ที่ดีตามคาดหวัง ทำลายเส้นเลือดที่สร้างปัญหา
สายเรียวๆ ในมือของศาสตราจารย์หวาง บริเวณหลอดเลือดที่มีปัญหาสามารถมองเห็นบนมอนิเตอร์ของจอเครื่องได้ ทำให้เห็นขณะทำหัตการเพื่อปิดกั้นเส้นเลือดที่มีปัญหา เส้นเลือดที่มีอาการเลือดออกอย่างผิดปกตินั้นค่อยๆจางลงและหายไปในที่สุด
จากภาพ…การประเมินการรักษาด้วยวิธีรังสีร่วมรักษานั้นง่ายมาก! แน่นอนว่าสิ่งที่สำคัญที่สุดคือการคอยฝ้าระวังอาการที่ตามมาภายหลัง หากเลือดหยุดแล้ว ยัต้องคอยเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์ที่อาจตามมาได้ จากการตรวจอย่างละเอียด พบว่านาย X ไม่มีความผิดปกติใดๆ
จากที่กล่าวมานี้สามารถสรุปได้ว่าการผ่าตัดเสร็จสิ้นสมบูรณ์
การผ่าตัดด้วยการส่องกล้อง เป็นการผ่าตัดด้วยการนำทางจากเครื่องเอกซเรย์ บริเวณที่มีการเปลี่ยนแปลงทางร่างกายเกิดขึ้น โดยไม่จำเป็นต้องทำการผ่าตัดใหญ่ เพราะฉะนั้นการผ่าตัดไม่จำเป็นต้องทำการผ่าตัดเปิดก็สามารถเข้าถึงเนื้อเยื่อมะเร็งได้ จริงๆ แล้วการผ่าตัดทำได้หลากหลายวิธี ไม่ว่าจะเป้ฯเนื้องอกชนิดทั่วไปหรือว่าเนื้อเยื่อมะเร็งก็สามารถใช้วิธีการผ่าตัดส่องกล้องได้
ศาสตราจารย์หวาง ฟาง จุนกล่าวว่าแม้ว่าการผ่าตัดด้วยการส่องกล้องนั้นเป็นการผ่าตัดที่ใช้มากเป็นอันดับสาม ของการรักษาทั้งทางด้านอายุรศาสตร์มะเร็งวิทยา และศัลยกรรมศาสตร์ แต่อย่างไรก็ตาม เนื่องจากระยะการนำเข้ามาใช้ยังอยู่นีระยะเวลาอันสั้น และการรับรู้ของประชาชนก็มีอย่างจำกัด เพราะฉะนั้น ศาสตราจารย์หวาง คณบดีประจำคณะแพทยศาสตร์ ได้ดำเนินการศึกษาและวิจัยเทคโนโลยีอย่างสม่ำเสมอ วัตถุประสงค์ก็เพื่อให้ผู้ป่วยจำนวนมากรับรู้เกี่ยวกับการรักษาแบบใหม่ ที่จะสามารถต้านมะเร็งได้ดียิ่งๆ ขึ้น และเป็นประโยชน์ต่อประชาชนมากขึ้นด้วยเช่นกัน